ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

บรรยากาศปลูกข้าววันแรก ประจำปี 2566 เป็นอย่างไรไปดู Planting rice for the first day of the year 2023

ฤดูปลูกข้าว ปี 2566 นี่คือวิถีชีวิตชนบทในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย Rice Planting Season 2023 This is the rural way of life in Mae Hong Son Province, Thailand. “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น […]

เก็บตกบรรยากาศสอบเก็บคะแนนเทอมแรก (ขุดเลาะปั้นคันนาตัดหญ้าคันนา) ตามวีถีชาวนาดอย

เก็บตกบรรยากาศสอบเก็บคะแนนเทอมแรก (ขุดเลาะปั้นคันนาตัดหญ้าคันนา) ตามวีถีชาวนาดอย เนื่องจากดินมันค่อนข้างร่วนซุยต้องปั้นคันนาใหม่ทุกปี ถือว่าเป็นช่วงสอบเก็บคะแนนของชาวนาในเทอมแรกของฤดูกาลทำนาละกันครับ ^___”

เตรียมที่หว่านกล้า

หลังจากวันหยุดยาวในช่วงเทศกาลสงกรานต์ผ่านไป ปลายเดือนเมษายนของทุกปีก็ต้องเตรียมที่เตรียมตัวทำนากันตามประสาชาวนาบนดอย ช่วงวันที่ 22-30 เมษายน 2560 ที่ผ่านมาก็ได้ปล่อยน้ำลงในนาเพื่อเตรียมที่สำหรับหว่านกล้าในนาข้าว ล้อมรั้วไว้ สักวันที่ 10 พฤษภาคม 2560 ก็จะหว่านกล้าแล้ว นี่แหละครับวิถีชาวนา หลังสู้ฟ้า หน้าสู้ดิน ชีวิตไม่สิ้น ดิ้นกันไป เพราะข้าวมีประโยชน์มากกมายมหาศาล ดังลำนำที่ว่า “บือ หมื่อ อะ ทิ โอะ เลอ แล           ถิ่นกำเนิดข้าวอยู่ที่ใด บือ พอ อะ ทิ โอะเลอแล           แหล่งกำเนิดข้าวอยู่ที่ใด บือ หมื่อ อะ ทิ เลอ ว่า แร            ถิ่นกำเนิดข้าวอยู่ด้านโน้น บือ พอ อะทิ เลอ ว่า แร    แหล่งกำหนดข้าวอยู่ด้านโน้น อะ […]

มา ทือ เอาะ หยื่อ… มา แว เอาะ เม ทำที่ดักหนูได้กินหนู ทำไร่ทำนาได้กินข้าว

มา ทือ เอาะ หยื่อ มา แว เอาะ เม ทำที่ดักหนูได้กินหนู ทำไร่ทำนาได้กินข้าว วิถีชีวิตของปวาเก่อญอนั้น ก็ขึ้นกับการทำไร่ข้าว เพราะเมื่อทำไร่ก็ไม่ใช่มีเฉพาะข้าวเท่านั้น สิ่งอื่นๆ ที่นอกจากข้าวก็สามารถหากินจากป่าได้ด้วย โดยการทำที่ดักหนูเพื่อป้องกันศัตรูข้าว หรือดักหนูเพื่อนำไปทำอาหารก็ได้ นี่ผูกพันกับข้าวและการหากินจากธรรมชาติที่อยู่รอบตัวเขา ก็สามารถเอาชีวิตรอดได้ สำหรับชนชาวปวาเก่อญอ อยู่กับป่า พึ่งป่า หากินกับป่า ป่าจึงเป็นชีวิตของเขา เพราะฉะนั้นใครที่พูดว่า “ชนชาวปวาเก่อญอทำลายป่า” แสดงว่าเขายังเข้าใจไม่ถูกต้อง