ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

บรรยากาศปลูกข้าววันแรก ประจำปี 2566 เป็นอย่างไรไปดู Planting rice for the first day of the year 2023

ฤดูปลูกข้าว ปี 2566 นี่คือวิถีชีวิตชนบทในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย Rice Planting Season 2023 This is the rural way of life in Mae Hong Son Province, Thailand. “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น […]

หากเปรียบเทียบกับการเรียนในโรงเรียน ช่วงนี้ก็เป็นการสอบเก็บคะแนน นั่นคือ ต้องดายหญ้า ที่คันนา

ข้าวอินทรีย์ โนเคมีคอล โดยทีวี เด็กสามหมอก ข้าวอินทรีย์เป็นผลผลิตที่มาจากการผลิตแบบอินทรีย์ (Organic farming หรือ Organic agriculture) เป็นการผลิตที่หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีทุกชนิด หรือสารสังเคราะห์ต่างๆ รวมไปถึงปุ๋ยเคมี และยาปราบศัตรูพืช ในทุกขั้นตอนการผลิตเน้นการใช้สารอินทรีย์จากธรรมชาติ ทุกขั้นตอนลงมือทำเองตั้งแต่เตรียมที่ยันเก็บเกี่ยวผลผลิต หากเปรียบเทียบกับการเรียนในโรงเรียน ช่วงนี้ก็เป็นการสอบเก็บคะแนน นั่นคือ ต้องดายหญ้า ที่คันนา ซึ่งปีหนึ่งๆ ตัดสามสี่รอบ เพื่อไม่ให้หญ้ามันรก คันนาก็จะได้ดูสวยเป็นระเบียบ ข้าวก็จะได้เจริญเติบโตยิ่งขึ้น  

ฝรั่งไร้เมล็ด เป็นฝรั่งที่มีผิวสวยสีเหลืองทอง ผลใหญ่ รสชาติหวานกรอบ อมเปรี้ยวเล็กน้อย และให้ผลดก

ฝรั่งไร้เมล็ด เป็นฝรั่งที่มีผิวสวยสีเหลืองทอง ผลใหญ่ รสชาติหวานกรอบ อมเปรี้ยวเล็กน้อย และให้ผลดก รับประทานได้ทั้งผล ในขณะที่ฝรั่งทั่วไป ซึ่งมีเมล็ดจะรับประทานเนื้อไปเพียงครึ่งเดียว ทดลองปลูกเมื่อวันที่ 1-2 กรกฏาคม 2560 ลองดูว่าจะเป็นอย่างไรบ้าง ติดตามกันต่อไป