ยินดีต้อนรับ

Deksammork 4.0

ฟังเพลงเก่อญอ

สนใจลงโฆษณา

maehongsontntour พื้นที่โฆษณา พื้นที่โฆษณา พื้นที่โฆษณา

สำหรับผู้ดูแลระบบ

หนึ่งวันที่ไร่ข้าว One day at the rice field

หนึ่งวันที่ไร่ข้าว One day at the rice field ‘ไร่หมุนเวียน’ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาในการทำไร่บนวิถีแห่งการอนุรักษ์ป่า ภูมิปัญญาการทำไร่หมุนเวียนเป็นวิถีแห่งการอนุรักษ์ เป็นการใช้พื้นที่เพาะปลูกในช่วงเวลา 1 ปี จากนั้นหมุนเวียนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อให้พื้นที่เดิมได้พักฟื้นและสะสมแร่ธาตุอาหารในดิน โดยวงจรในการหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนใช้เวลาประมาณ 5 – 12 ปี การพักฟื้นคือการปล่อยพื้นที่ทิ้งไว้เฉยๆ พื้นที่พักฟื้นมีชื่อเรียกว่า ‘ไร่เหล่า’ ตลอดระยะเวลา 12 ปี ธรรมชาติจะเยียวยารักษาผืนดิน มอบความอุดมสมบูรณ์และพืชพรรณ จนพื้นที่ไร่เหล่าซึ่งเคยราบเตียนกลับมาชอุ่มชุ่มชื้นเป็นผืนป่าเขียวขจีอีกครั้ง การทำไร่หมุนเวียนถือเป็นวิถีการเกษตรที่สอดคล้องกับหลักนิเวศป่า และเป็นภูมิปัญญาในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และยังถือเป็นหลักประกันของการสร้างความมั่นคงทางอาหาร เพราะการทำไร่หมุนเวียนนอกจากจะมีการปลูกข้าวไร่ซึ่งถือเป็นพืชชนิดหลักแล้ว ยังมีการปลูกพืชพรรณชนิดอื่นๆ แบบผสมผสาน ทั้งพืชล้มลุก พืชคลุมดิน รวมไปถึงไม้ยืนต้น ^__^  

ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

บรรยากาศปลูกข้าววันแรก ประจำปี 2566 เป็นอย่างไรไปดู Planting rice for the first day of the year 2023

ฤดูปลูกข้าว ปี 2566 นี่คือวิถีชีวิตชนบทในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย Rice Planting Season 2023 This is the rural way of life in Mae Hong Son Province, Thailand. “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น […]

วิธีการติดตั้ง app deksammorkradio วิทยุของคลื่นฅนสามหมอก บอกให้รู้ อยู่บนดอย ผ่านระบบปฏิบัติ Android

ก้าวหน้าไปอีกขั้น สำหรับ App (แอพ) วิทยุคลื่นฅนสามหมอก บอกให้รู้ อยู่บนดอย ผ่านมือถือระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android) เรามาดูวิธีการติดตั้งกันดีกว่าครับ วิธีการติดตั้ง app deksammorkradio วิทยุของคลื่นฅนสามหมอก บอกให้รู้ อยู่บนดอย ผ่านระบบปฏิบัติ Android ขั้นตอนที่ 1 ให้เข้าไปที่เว็บไซต์ www.deksammork.com ตาม URL ด้านล่างนี้นะครับ http://www.deksammork.com/appradio.apk หรือ http://www.deksammork.com/deksammorkradio.apk หรือ http://www.deksammork.com/deksammorkradioapp.apk จากนั้นให้คลิกปุ่ม ตกลง (OK) ดังรูปภาพประกอบ 1 รูปภาพประกอบ 1 ขั้นตอนที่ 2 จะปรากฏหน้าต่างให้ดาวน์โหลด ก็ให้ดาวน์โหลดลงมา ตามรูปภาพประกอบ 2 ตามรูปภาพประกอบ 2 ขั้นตอนที่ 3 จะปรากฏหน้าต่างการปิดกั้นการติดตั้งเอาไว้ ทั้งนี้เนื่องจาก App วิทยุดังกล่าว ผมไม่ได้ไปวางไว้ที่ Google Play Store แต่สามารถติดตั้งได้ตามปกติ ปลอดภัยแน่นอนครับ ^___^ ตามรูปประกอบ 3 รูปประกอบ […]

ชิ สุวิชาน อัลบั้ม Ta – ti Ta – taw

ห่างหายกันไป 4 ปี … ชิ สุวิชาน กลับมา พร้อม อัลบั้มใหม่ Ta – ti Ta – taw ดนตรี มีความแตกต่างจากชุดที่ผ่านมา แต่ยังคงตัวตนที่ชัดเจน บทเพลงจากตำนาน เรื่องเล่าสู่ความจริงที่อาจมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เปิดเพลงฟังแล้วจะเห็นความเป็นไป ต่าที ต่าเตาะ อัลบั้มใหม่นี้ มี 9 เพลง ฟัง สบาย สบาย สร้างกำลังใจ ให้กำลังใจ พร้อมด้วยเพลงพิเศษ เพลงใจแผ่นดิน ซึ่งได้แรงบันดาลใจ มาจาก เพลงปกาเก่อญอ บ้านโป่งลึก บางกรอย มอบพิเศษ แด่  เพื่อนของเรา บิลลี่ ….คิดถึง ชิ รัก ชิ สนับสนุน ชิ สั่งซื้อมาได้เลย จัดส่งถึงบ้าน (หมายเหตุ:ราคานี้ไม่รวมค่าจัดส่ง ,ค่าจัดส่งพร้อมซองกันกระแทก 40.00 บาท ,เฉเพาะประเทศไทย)

ร่วมบริจาคและสมทบทุนไฟไหม้บ้านนายสมเพชร อภิเดชเรืองยศ

ร่วมบริจาคและสมทบทุนไฟไหม้บ้านนายสมเพชร อภิเดชเรืองยศ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2557 เวลา 16.15 น. เลขที่ 119 ม.4 บ้านห้วยหมาก-ลาง ต.ห้วยโป่ง อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ติดต่อ เด็กสามหมอก โทร. 08-2184-0725 โก้ โทร. 0899528507 เลขที่บัญชี 508-007-1249 ชื่อ นายวิธี เทอดชูสกุลชัย (Witee Terdchusakulchai) ธ.กรุงไทย สาขาแม่ฮ่องสอน (ประเภทออมทรัพย์) ผมจะเดินทางไปมอบให้ภายในวันอาทิตย์นี้ครับ ขอบคุณภาพประกอบจากเจ้าของเฟส 1. https://www.facebook.com/ekachai.yotha 2. https://www.facebook.com/too.withuporn 3. https://www.facebook.com/profile.php?id=100002564122579 วีดีโอตอนไปมอบเงินเพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัย ขอขอบคุณทุกท่านที่ร่วมบริจาคมา ณ ที่นี้ด้วย ขอให้ประสบแต่ความสุขความเจริญ และขออนุโมธนาสาธุครับ

ร่วมด้วยช่วยกันสนับสนุนงบประมาณและของรางวัลเป็นตัวแทนจัดงานวันเด็กให้กับชุมชนบ้านห้วยหมาก-ลาง

ณ หมู่บ้านห้วยหมาก-ลาง ม.4 ต.ห้วยโป่ง อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน ในวันเสาร์ที่ 11 มกราคม 2557 (เป็นตัวแทนของหมู่บ้านระแวกใกล้เครียง 5 หมู่บ้าน)

นิทานเรื่องไม่รู้จักเงิน โดยคุณพ่อ

นิทานเรื่องไม่รู้จักเงิน โดยคุณพ่อ บันทึกโดย เด็กสามหมอก เมื่อวันที่ 30 เดือนกรกฏาคม 2558 ซึ่งตรงกับวันอาสาฬหาบูชา ลองฟังกันดูนะครับ เครดิตภาพ http://www.sogoodglobal.com/home/img-news/money-thai.png

นิทานเรื่องหมูป่า เล่าโดยคุณแม่ผมเอง

นิทานเรื่องหมูป่า เล่าโดยคุณแม่ผมเอง บันทึกเมื่อวันที่ 30 กรกฏาคม 2558 ณ ยอดดอยแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย เรื่องย่อ สามีภรรยาคู่หนึ่งเพิ่งแต่งงานยันไม่พ้น 3 วัน พ่อแม่ห้ามไม่ให้ไปไหน แต่ไม่เชื่อฟัง เหตุการณ์จะเป็นอย่างไรต่อไป ต้องฟังครับ อิอิ

นิทานเรื่องราชสีห์ (สิงโต) เล่าโดยคุณแม่

นิทานเรื่องราชสีห์ (สิงโต) เล่าโดยคุณแม่ บันทึกเมื่อวันที่ 30 กรกฏาคม 2558 (ตรงกับวันอาสาฬหบูชา) ณ ยอดดอยแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย

นิทานเรื่อง เสือ หมูป่า หมี และคน

นิทานเรื่อง เสือ หมูป่า หมี และก็คน // ปอเลอปลอ บะค๊ะเลอ เบาะโซะ ถ๊อตี่ ตาซู ด๊อปวาเก่อญอ เล่าโดยคุณพ่อผมเอง ผมอัดให้ฟังเมื่อวันที่ 30 ก.ค. 2558 ที่ผ่านมา สนุก ตลกดีครับ

นิทานเรื่องดอปื่อแหว่ – พี่น้องต้องรักใคร่กลมเกลียวกัน โดยพือสีเงิน

นิทานเรื่องดอปื่อแหว่ – พี่น้องต้องรักใคร่กลมเกลียวกัน โดยพือสีเงิน เป็นนิทานที่ให้ข้อคิดระหว่างพี่น้อง พี่น้องมีด้วยกันไม่กี่คน ยามตกทุกข์ได้ยากก็ต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพราะว่าสายเลือดความเป็นพี่น้องย่อมเข้มข้นกว่าต่างสายเลือดแน่นอน ดังคำสุภาษิตปวาเก่อญอที่กล่าวไว้ว่า “ดอปื่อแหว่ควาเต่ออากา…บะต่านะโตะเหลาะเป่อซะ”

หนึ่งวันที่ไร่ข้าว One day at the rice field

หนึ่งวันที่ไร่ข้าว One day at the rice field ‘ไร่หมุนเวียน’ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาในการทำไร่บนวิถีแห่งการอนุรักษ์ป่า ภูมิปัญญาการทำไร่หมุนเวียนเป็นวิถีแห่งการอนุรักษ์ เป็นการใช้พื้นที่เพาะปลูกในช่วงเวลา 1 ปี จากนั้นหมุนเวียนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อให้พื้นที่เดิมได้พักฟื้นและสะสมแร่ธาตุอาหารในดิน โดยวงจรในการหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนใช้เวลาประมาณ 5 – 12 ปี การพักฟื้นคือการปล่อยพื้นที่ทิ้งไว้เฉยๆ พื้นที่พักฟื้นมีชื่อเรียกว่า ‘ไร่เหล่า’ ตลอดระยะเวลา 12 ปี ธรรมชาติจะเยียวยารักษาผืนดิน มอบความอุดมสมบูรณ์และพืชพรรณ จนพื้นที่ไร่เหล่าซึ่งเคยราบเตียนกลับมาชอุ่มชุ่มชื้นเป็นผืนป่าเขียวขจีอีกครั้ง การทำไร่หมุนเวียนถือเป็นวิถีการเกษตรที่สอดคล้องกับหลักนิเวศป่า และเป็นภูมิปัญญาในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และยังถือเป็นหลักประกันของการสร้างความมั่นคงทางอาหาร เพราะการทำไร่หมุนเวียนนอกจากจะมีการปลูกข้าวไร่ซึ่งถือเป็นพืชชนิดหลักแล้ว ยังมีการปลูกพืชพรรณชนิดอื่นๆ แบบผสมผสาน ทั้งพืชล้มลุก พืชคลุมดิน รวมไปถึงไม้ยืนต้น ^__^  

ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

บรรยากาศปลูกข้าววันแรก ประจำปี 2566 เป็นอย่างไรไปดู Planting rice for the first day of the year 2023

ฤดูปลูกข้าว ปี 2566 นี่คือวิถีชีวิตชนบทในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย Rice Planting Season 2023 This is the rural way of life in Mae Hong Son Province, Thailand. “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น […]

Doi Jigjong | ดอยจิกจ้อง

Doi Jigjong | ดอยจิกจ้อง ดอยจิกจ้อง ณ จุดสูงสุด มีความสูงจากระดับน้ำทะเล 1,933 เมตร ท่ามกลางขุนเขาทิวทัศน์ 360 องศา สามารถมองเห็นวิวอำเภอปายได้เป็นอย่างดี อากาศบนยอดดอยเย็นสบายและบริสุทธิ์ ดอยจิกจ้อง ตั้งอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบของ ตำบลสบป่อง อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน มีโอกาสผ่านมาแม่ฮ่องสอน อย่าลืมแวะเที่ยวชมกันนะครับ ^__” Doi Jigjong Doi Jig Jong at the highest point has a height of 1,933 meters above sea level. The air on the top of the mountain is cool and pure. Doi Jig […]

หนึ่งวันที่ไร่ข้าว One day at the rice field

หนึ่งวันที่ไร่ข้าว One day at the rice field ‘ไร่หมุนเวียน’ ซึ่งเป็นภูมิปัญญาในการทำไร่บนวิถีแห่งการอนุรักษ์ป่า ภูมิปัญญาการทำไร่หมุนเวียนเป็นวิถีแห่งการอนุรักษ์ เป็นการใช้พื้นที่เพาะปลูกในช่วงเวลา 1 ปี จากนั้นหมุนเวียนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง เพื่อให้พื้นที่เดิมได้พักฟื้นและสะสมแร่ธาตุอาหารในดิน โดยวงจรในการหมุนเวียนผลัดเปลี่ยนใช้เวลาประมาณ 5 – 12 ปี การพักฟื้นคือการปล่อยพื้นที่ทิ้งไว้เฉยๆ พื้นที่พักฟื้นมีชื่อเรียกว่า ‘ไร่เหล่า’ ตลอดระยะเวลา 12 ปี ธรรมชาติจะเยียวยารักษาผืนดิน มอบความอุดมสมบูรณ์และพืชพรรณ จนพื้นที่ไร่เหล่าซึ่งเคยราบเตียนกลับมาชอุ่มชุ่มชื้นเป็นผืนป่าเขียวขจีอีกครั้ง การทำไร่หมุนเวียนถือเป็นวิถีการเกษตรที่สอดคล้องกับหลักนิเวศป่า และเป็นภูมิปัญญาในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน และยังถือเป็นหลักประกันของการสร้างความมั่นคงทางอาหาร เพราะการทำไร่หมุนเวียนนอกจากจะมีการปลูกข้าวไร่ซึ่งถือเป็นพืชชนิดหลักแล้ว ยังมีการปลูกพืชพรรณชนิดอื่นๆ แบบผสมผสาน ทั้งพืชล้มลุก พืชคลุมดิน รวมไปถึงไม้ยืนต้น ^__^  

ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 3 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 3 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

ตามติด #วิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการ #ปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of #riceplanting

ตามติดวิถีชีวิตชนบท วันที่ 2 ของการปลูกข้าว Follow the rural way of life Day 2 of rice planting “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น โดยดั้งเดิม เป็นข้าวพันธุ์พื้นเมืองของกลุ่มขาติพันธุ์ปวาเก่อญอซึ่งพันธุ์ข้าวบือโป๊ะโล๊ะ เป็นพันธุ์พื้นเมืองดั้งเดิมที่ผ่านการคัดเลือก โดยภูมิปัญญาของบรรพบุรุษชาวปวาเก่อญอ เรียกได้ว่า เป็นมรดกสืบทอดกันมาปว่าเก่อญอเลยก็ได้ สนใจเดินชมทุ่งท่องเที่ยวแบบบ้านๆ […]

บรรยากาศปลูกข้าววันแรก ประจำปี 2566 เป็นอย่างไรไปดู Planting rice for the first day of the year 2023

ฤดูปลูกข้าว ปี 2566 นี่คือวิถีชีวิตชนบทในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ประเทศไทย Rice Planting Season 2023 This is the rural way of life in Mae Hong Son Province, Thailand. “สู่บือ” (ปลูกข้าว) #บือ #ข้าว ชาวปวาเก่อญอจะเรียกข้าวว่า ‘บือ’ คนเมืองหรือคนไทยในพื้นราบจะเรียกกันว่า ‘ข้าวดอย’ เพราะเป็นข้าวที่ปลูกอยู่บนดอยตามชื่อ เมื่อปลูกบนดอยก็ยากที่จะทำนาแบบใช้น้ำเหมือนการปลูกข้าวบนพื้นราบ นาส่วนใหญ่จะเป็นนาขั้นบันได อาศัยลำธารเล็กๆและก็น้ำฝนในการหล่อเลี้ยงเพื่อให้ข้าวเจริญเติบโตงอกงาม ระยะเวลาการเพาะปลูปจะกินเวลานาน ประมาณ 7-8 เดือน เพราะเป็นนาปี คือเริ่มหว่านกล้าตั้งแต่ปลายเดือนเมษายนหรือต้นเดือนพฤษภาคม และเก็บเกี่ยวในต้นเดือนธันวาคม ซึ่งในเวลานานมากทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศของแต่ละพื้นที่ด้วย ข้าวดอยเมล็ดจะสั้นป้อม เหนียว นุ่ม หนึบ (บือโป๊ะโล๊ะ) กินกับอาหารได้ทั้งเปียก หมาด และแห้ง ถ้ากินบนดอยอาจจะได้กลิ่นควันจากเตาที่หุงด้วยฟืนช่างได้ฟิลสำหรับการเจริญอาหารยิ่งนัก ^__” ข้าวพันธุ์บือโป๊ะโล๊ะ ถูกปลูกในที่สูง ที่มีอากาศเย็น […]

#เที่ยวน่าน น่านหรือเมืองนันทบุรี สุดขอบฟ้าเมืองล้านนาตะวันออก เป็นเมืองที่งดงามทางด้านวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ท้องถิ่น มีความหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี

#เที่ยวน่าน น่านหรือเมืองนันทบุรี สุดขอบฟ้าเมืองล้านนาตะวันออก เป็นเมืองที่งดงามทางด้านวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ท้องถิ่น มีความหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี ทะเลภูเขาที่สลับซับซ้อน ธรรมชาติสวยงาม สถานที่ท่องเที่ยวหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงเป็นเสน่ห์ของเมืองน่าน ที่ทำให้ใครหลายคนหลงรักและเลือกเดินทางมายังจังหวัดนี้ ถือเป็นจุดหมายปลายทางยอดฮิตที่เหล่านักเดินทางต่างใฝ่ฝัน ที่จะมาเที่ยวสัมผัสบรรยากาศของความเป็นธรรมชาติ ไม่ว่าจะไปเที่ยวน่านฤดูไหนก็สวยงามเสมอ บอกเลยถ้ามีโอกาสแวะไปเที่ยวน่านกัน ^___” Nan or Mueang Nanthaburi The horizon of Eastern Lanna City It is a beautiful city in terms of culture and local identity. There are diverse cultural traditions ,intricate mountain seeing beautiful nature, various attractions These are the charms of Nan. […]

กองแลน/Pai Canyon (ปาย แคนยอน) เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เกิดจากการที่ดินทรุดตัวบนภูเขาสูงนี้ และถูกกัดเซาะเป็นร่องลึกคล้ายหน้าผา

กองแลน/Pai Canyon (ปาย แคนยอน) กองแลน หรือ ปายแคนยอน เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เกิดจากการที่ดินทรุดตัวบนภูเขาสูงนี้ และถูกกัดเซาะเป็นร่องลึกคล้ายหน้าผา ต่อกันเป็นบริเวณกว้าง ตั้งอยู่ห่างจากตัวอำเภอปายไปตามเส้นทางหลวง หมายเลข 1095 สายปาย – แม่มาลัย ประมาณ 7 กิโลเมตร อยู่ทางด้านขวามือ สามารถเดินเที่ยว ถ่ายรูปได้เป็นวงกลม ชมความสวยงามได้โดยรอบแบบ 360 องศา เวลาเดินเที่ยวต้องระวังมากๆ เพราะดินจะร่วนมากและยังเป็นดินแดงอีกด้วย อาจจะลื่นและทำให้เกิดอันตรายได้ กองแลนหรือปายแคนยอน ถือเป็นไฮไลท์ยอดฮิตอันดับต้นๆของคนมาเที่ยวปาย สำหรับดูพระอาทิตย์ขึ้นและตกในที่เดียวกัน มีโอกาสแวะมาสัมผัสมนต์เสน่ห์ของปายที่กองแลนกันได้นะครับ ^___” Kong Lan/Pai Canyon Kong Lan or Pai Canyon is a naturally occurring tourist attraction. caused by land subsidence on this high […]

ล่องห่วงยางแม่น้ำปาย อีกหนึ่งกิจกรรมมันส์ๆ ที่ต้องลองทำดูสักครั้งในชีวิต

ลำปายสายธาร นมัสการหลวงพ่ออุ่นเมือง ลือเลื่องกระเทียมพันธุ์ดี ป่าเขียวขจีรอบทิศ วิถีชีวิตสงบร่มเย็น ล่องห่วงยางแม่น้ำปาย อีกหนึ่งกิจกรรมมันส์ๆ ที่ต้องลองทำดูสักครั้งในชีวิต จากสะพานเวียงเหนือหรือวังปลาตาลเจ็ดต้น ล่องไปขึ้นที่สะพานประวัติศาสตร์อำเภอปาย ใช้เวลาประมาณ 3- 4 ชั่วโมง ระยะทาง 10 – 12 กิโลเมตร แต่ถ้าหากใครไม่อยากล่องนานก็ขึ้นฝั่งก่อนได้ เพราะตลอดริมฝั่งน้ำปาย ก็จะมีร้านกาแฟ มีบาร์คอยให้บริการ หรือว่าแวะจิบเครื่องดื่มเย็นๆ บนฝั่งก่อนได้ เอาที่เราสะดวกว่าเลยครับ ตลอดสองฝั่งลำน้ำปายก็จะมีรังนกนกกระจาบบนต้นไม้ ต้นมะพร้าว ซึ่งในช่วงเดือนมิถุนายน-กันยายน เป็นช่วงที่นกกระจาบจะทำรังเพื่อการผสมพันธ์และออกไข่ ถือเป็นโอกาสดีและหาได้ยากยิ่ง มีโอกาสแวะมาสัมผัสมนต์เสน่ห์ของลำน้ำปายกันได้นะครับ ^__^ Lampai Stream, Worshiping Luang Pho Unmuang,Known for good varieties of garlic, green forest all around, peaceful way of life Tubing on the […]

หนอนไม้ไผ่ #รถด่วน #bamboo worm ณ ดอยผีลู

หาหนอนไม้ไผ่ #รถด่วน #bamboo worm วันนี้พาไปหาหนอนไม้ไผ่ หรือว่ารถด่วนที่ดอยผีลูกัน ซึ่งในช่วงฤดูฝนหรือช่วงปลายฝนต้นหนาวของทุกปี ประมาณกลางเดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่มีหนอนไม่ไผ่ หรือ “รถด่วน” หนอนไม้ไผ่จะมีอยู่ตามป่า อาศัยอยู่ในพวกไม้ไผ่รวก ไผ่บง ไผ่ตง หรือไผ่อื่นๆ ขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่ เพราะแต่ละพื้นที่มีลักษณะภูมิประเทศที่แตกกันออกไป หนอนไม้ไผ่ หรือ “รถด่วน” ถือว่าเป็นอาหารเมนูสุดยอดอย่างหนึ่งที่ผู้คนมักจะนิยมชอบรับประทาน โดยเฉพาะคนทางเหนือหรือคนบนดอยอย่างผม 55+ แต่ส่วนใหญ่แล้วจะหากินเพื่อยันชีพ แต่ถ้าหาได้เยอะก็เอามาแบ่งปันให้กับญาติพี่น้อง เพื่อนพ้อง ญาติสนิทมิตรสหาย หรือเอาไปขายก็สามารถสร้างรายได้ ได้อีกทางหนึ่งเช่นกัน ในหนึ่งปีจะมีเพียงหนึ่งครั้ง รสชาติอร่อย ยิ่งเอามาลวก เอามายำ เอามาทอด คั่วเกลือ ตำน้ำพริก กลับแก้ม กินเล่น หรือสุดแต่ท่านจะทำเมนู อร่อยทุกเมนูแน่นอน พูดแล้วน้ำลายไหลเลย 55+ ทั้งนี้เพราะหนอนไม้ไผ่นั้นมีคุณค่าทางด้านโภชนาการที่ดีมีโปรตีนสูงอีกด้วยครับ ^____^ https://youtube.com/shorts/cvy8bmObDsQ?feature=share

ขวัญปกาเกอะญอ 37 ประการ

ขวัญปกาเกอะญอ 37 ประการ ชาวปกาเกอญอะ (กะเหรี่ยง) เชื่อว่ามนุษย์เกิดมามีขวัญอยู่ในตัว 37 ประการ ประกอบด้วย ขวัญที่อยู่ในตัว 5 ประการ และอีก 32 ประการอยู่ในตัวสัตว์ต่างๆ แบ่งออกเป็น 4 ชนิด ได้แก่ สัตว์ปีก สัตว์น้ำ สัตว์บก และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำ รายละเอียดตามภาพ

cake in bamboo สาวกระเหรี่ยงน้อยๆ กับ เค้กในไม้ไผ่

เป็นไปแล้ว พอศอนี้ ไม้ไผ่ ทำอะไรได้หลายอย่าง สาวน้อย กระเหรี่ยง ราชบุรี จัดให้ ไอเดีย กิ๊ฟเก๋ เค้กในไม้เค้กไม่ไผ่ ของ สาวน้อย กระเหรี่ยง ที่ ชื่อ วรกานต์ นั้น เธอตกแต่งหน้า เค้กได้น่ารับประทานมาก ไม่ว่า การใส่ ครีม ใส่ ฝอยทอง คุ๊กกี้ ช็อกโกแลต สตอเบอร์รี่เชื่อม สตอเบอร์รี่สด  ลองชมภาพดูน่ารับประทาน น่ากินขนาดไหน เวลานี้ เธอได้จดทะเบียนเป็นสินค้าโอทอป เรียบร้อยแล้ว และ กำลังทำเรื่องจดสิทธิบัตรทางอาหารอีกด้วย ไปไกลเลย สาวกระเหรี่ยงน้อย คนนี้ เธอยังมีไอเดีย ต่อยอดในเรื่องใบตอง เรื่องลูกมะพร้าวอีกด้วย เข้าใจว่า มาแนว นำป่าสู่เมือง ตามเธอให้ทันแล้วกัน ไอเดียเธอ เริ่ด .. ตอนนี้ เธอสร้างผลิตภัณฑ์สำเร็จแล้ว เธอกำลังสร้างแบรนด์ต่อ ในชื่อ พุงพลุ้ย เค้กไม้ไผ่ […]

รู้จักกันก่อน

บอกตามตรง ว่า ยังไม่ค่อยกล้ามาเจอหน้ากัน ท่านธี เวพมาสเตอร์ ชวนมา ยังเขิลๆอายๆ แต่เอาน่า ลงเรือ ลำเดียวกัน พื้นดินแม่ฮ่องสอนด้วยกัน คุยกันไปมา เดี๋ยวได้เรื่อง คอล้มน์นี้ เป็น สัพเพเหระทั่วไป เกี่ยวกับไม้ไผ่ มีอะไรในกอไผ่     อยากรู้จักไม้ไผ่ สนใจไม้ไผ่ อยากจีบ ไม้ไผ่ ทักทาย ไถ่ถามกันมาได้เลย พะตี่แบมบู 18.2.2017